ฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอแสดงความยินดีเป็นอย่างยิ่งกับคณาจารย์และนักวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่นทุกท่านที่ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2568 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ให้ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2568 ในสาขาต่าง ๆ มอบให้เพื่อเชิดชูนักวิจัย นักประดิษฐ์ ที่อุทิศตนเพื่องานวิจัยอย่างต่อเนื่องและสามารถสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ มีผลงานเป็นที่ประจักษ์เป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการ อีกทั้งยังมอบให้เพื่อเป็นรางวัลที่ส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจของนักประดิษฐ์ และนักวิจัย ในการวิจัยและพัฒนาผลงานวิจัยและนัวตกรรมต่าง ๆ โดยมีนักวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติต่าง ๆ ดังนี้
1.รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ จำนวน 1 ท่าน ได้แก่
ศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์ ทองใบ – คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติประจำปีงบประมาณ 2568 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
2. รางวัลผลงานวิจัยระดับดี จำนวน 2 เรื่อง ได้แก่
1) ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาวัสดุเชื่อมประสานฟังก์ชันพิเศษสำหรับงานก่อสร้าง จากซีเมนต์และจีโอพอลิเมอร์” (Development of Functional Construction Binding Materials from Cement and Geopolymer)
สมาชิกทีมผู้ร่วมวิจัยได้แก่
- ศ. ดร.สุปรีดิ์ พินิจสุนทร
- ผศ. ดร.ปัญจศีล พยัคฆนิธิ
- ดร.ณัฐพงษ์ เชื้อวังคา
- ศ. ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ
- รศ. ว่าที่ร้อยตรี พงษ์ศักดิ์ จิตตบุตร
- นายดนัย ไชยโยธา
2) ผลงานวิจัยเรื่อง “การออกแบบและพัฒนาวัสดุนาโนเพื่อการวินิจฉัยโรค ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงเหนือพันธุกรรมในระยะแรกเริ่ม”(Design and Development of Nanomaterials for Early Detection of Diseases Related to Epigenetics)
สมาชิกทีมผู้ร่วมวิจัยได้แก่
- รศ. ดร.ธีระพงษ์ พวงมะลิ
- ดร.วิทวัส พันชัย
- รศ. ดร.เรณู ทานันท์
- ผศ. ดร.ชฎามาศ สกลศิลป์ศิริ
- 5 ผศ. ดร.เทียนชัย วิวาสุขุ
- ดร.สาวินีย์ เงินพิมาย
- นายอรรณพ ศรีกุลวงศ์
- นางสาวจันทร์เพ็ญ ทองเหลือง
- นางสาวปิยพร มาตุลกุล
- นายจิรวัฒน์ อัศวขจรศักดิ์
- นางสาวสิรีมาศ คูวัฒนสุชาติ
- นายภควัต ทุมจีน
- นายเชิดพงศ์ ชูเดช
- ศ. ดร.ไพบูลย์ สิทธิถาวร
- รศ. ดร.อภิวัฒน์ ชมภูสอ
- รศ. ดร.พรจักร ศรีพัชราวุธ
- ผศ. ดร.ธนพงศ์ อินทระ
- ผศ. ดร.อุทุมพร ปณิธานะรักษ์
- ผศ. ดรัสวิน วงศ์ปรเมษฐ์
- ผศ. ดร.ศิรินันท์ กุลชาติ
3.รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดี จำนวน 4 เรื่อง ได้แก่
👩💼สาขาสังคมวิทยา 💫🚀
1) ผลงานเรื่อง “ปฏิบัติการทางสังคมผ่านการใช้ทุนของแรงงานอีสานย้ายถิ่นกลับจากการไปทำงานต่างประเทศ” (Social Practices and Utilization of Capitals of Isan Return Migrants Working Abroad)
โดย ดร.ณัฐวรรธ อุไรอำไพ
อาจารย์ที่ปรึกษา: ศ.ดร.ดุษฎี อายุวัฒน์
2) ผลงานเรื่อง “การพัฒนาตัวแบบเมืองสีเขียวผ่านเครือข่ายผู้กระทำ”(Model Development for Green Urbanization with Urban Actor Network)
โดย ดร.รสิตา ดาศรี
อาจารย์ที่ปรึกษา: ศ.ดร.ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์
👩💼สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช💫🚀
ผลงานเรื่อง “การสังเคราะห์และการดัดแปลงไกด์อาร์เอ็นเอด้วยวิธีการทางเคมีเพื่อเพิ่มฟังก์ชันการใช้งานระบบคริสเปอร์” (Chemically Modified Guide RNAs to Expand CRISPR Functionality)
โดย ผศ.ดร.ลภัสรดา แต้ไมตรี
อาจารย์ที่ปรึกษา: Professor Tom Brown
👩💼สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์💫🚀
ผลงานเรื่อง “สมบัติทางไดอิเล็กตริกของวัสดุพอลิเมอร์คอมโพสิตกลุ่ม PVDF โดยใช้อนุภาคโลหะและอนุภาควัสดุไจแอนต์ไดอิเล็กตริกเป็นวัสดุเสริม” (Dielectric Properties of PVDF-Based Polymer Composites Using Metal Particles and Giant Dielectric Particles as Fillers)
โดย ดร.พรสวรรค์ คำอ่อนสา
อาจารย์ที่ปรึกษา: ศ.ดร.ประสิทธิ์ ทองใบ
4.รางวัลผลงานคุณภาพ NRCT Quality Achievement Award
จำนวน 13 เรื่อง ได้แก่
1) ประเภทผลงานประดิษฐ์คิดค้น จำนวน 2 เรื่อง ได้แก่
1. ผลงานเรื่อง “แพลตฟอร์ม DeepDDM: เครื่องมือวัดการไหลเชิงอนุพันธ์เพื่อประเมินความหนืดและภาวะการแข็งตัวของของเหลวชีวภาพในร่างกายและการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องด้วยเทคนิคการเรียนรู้เชิงลึก”
(DeepDDM Platform: Differential Dynamic Microscopy Measuring for Hypercoagulation and Viscosity Assessment of Biological Fluid and Compact DDM Instrument Performance Improvement with Deep Learning Techniques)
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนพงษ์ อินทระ และคณะ
(สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์)
2. ผลงานเรื่อง “ระบบปัญญาประดิษฐ์ตรวจจับกระดูกสะโพกหักจากภาพเอ็กซเรย์”
(AI for Hip Fracture Detection in X-ray Radiograph)
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ ดร.แพทย์หญิงพริญญ์ ถวิลไพร และคณะ
(สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์)
2) ประเภทผลงานวิจัย จำนวน 1 เรื่อง ได้แก่
ผลงานเรื่อง “วัสดุนาโนขั้นสูงกลุ่มโครงสร้างอะตอม 2 มิติ สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บและผันพลังงานสะอาด”
(Advanced Two-dimensional (2D) Nanomaterials for Enhancing Clean Energy Storage and Conversion Efficiencies)
โดย รองศาตราจารย์ ดร.ธนายุทธ แก้วมารยา และคณะ
(สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์)
3) ประเภทวิทยานิพนธ์ จำนวน 10 เรื่อง ได้แก่
- ผลงานเรื่อง “การปรับปรุงสมบัติดอิเล็กทริกของวัสดุพอลิเมอร์ชนิด3-เฟส: PDVF/BaTiO3/อนุภาคตัวนำไฟฟ้า”
(Improvement of Dielectric Properties of 3-phase Polymer Composites PVDF/Ba TiO3/Conducting Particles)
- ผลงานเรื่อง “การปรับปรุงสมบัติดอิเล็กทริกของวัสดุพอลิเมอร์ชนิด3-เฟส: PDVF/BaTiO3/อนุภาคตัวนำไฟฟ้า”
โดย ดร.กัญญาภัค ศิลาแก้ว
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : ศ. ดร.ประสิทธิ์ ทองใบ
(สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์)
- ผลงานเรื่อง “การศึกษาชุดรูปแบบโปรตีนทางชีวภาพและไกลโคฟอร์มที่มีการเติมกรดไซอะลิกของ
ทรานส์เฟอร์รินเพื่อใช้ในการวินิจฉัยและพยากรณ์โรคมะเร็งท่อน้ำดี”
(Evaluation of the Biomaker Panels and the Novel Sialylated Glycoform of Transferrin as Diasnostic and Pronostic Approaches in Cholangiocarcinoma)
- ผลงานเรื่อง “การศึกษาชุดรูปแบบโปรตีนทางชีวภาพและไกลโคฟอร์มที่มีการเติมกรดไซอะลิกของ
โดย ดร.พงศ์ศรัณย์ กิมาวหา
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : ผศ.ดร.อัญชลี เตชะเสน
(สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์)
- ผลงานเรื่อง “การประดิษฐ์และศึกษาลักษณะเฉพาะของเส้นใยคาร์บอนนาโนจากชีวมวลสำหรับกำจัดสารมลพิษอินทรีย์ในน้ำ”
(Fabrication and Characterization of Carbon Nanofiber Derived from Biomass for Removal of Pollutants from Water)
- ผลงานเรื่อง “การประดิษฐ์และศึกษาลักษณะเฉพาะของเส้นใยคาร์บอนนาโนจากชีวมวลสำหรับกำจัดสารมลพิษอินทรีย์ในน้ำ”
โดย ดร.พิมพ์ชนก เอี่ยมวิถีวนิช
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : ศ. ดร.สุปรีดิ์ พินิจสุนทร
(สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช)
- ผลงานเรื่อง “การสังเคราะห์สารกระตุ้นปฏิกิริยาคงรูปยางคอมพาวด์ที่มีสังกะสีออกไซด์เป็นองค์ประกอบพื้นฐานและการนำไปประยุกต์ใช้งาน”
(Synthesis of Environmentally Friendly Zinc Oxide-based Curing Activator for Rubber Compound and Its Applications)
- ผลงานเรื่อง “การสังเคราะห์สารกระตุ้นปฏิกิริยาคงรูปยางคอมพาวด์ที่มีสังกะสีออกไซด์เป็นองค์ประกอบพื้นฐานและการนำไปประยุกต์ใช้งาน”
โดย ดร.ศุภฤกษ์ บุพศิริ
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก รศ. ดร.โฉมศรี ศิริวงศ์
(สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช)
- ผลงานเรื่อง “ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงที่ทำงานได้ดีภายใต้แสงวิสิเบิลสำหรับการสลายสีย้อมเอโซแลยาปฏิชีวนะ”
(Visible-light-irradiation Photocatalyst for Degradation of Organic Azo dyes and Antibiotic Drug)
- ผลงานเรื่อง “ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงที่ทำงานได้ดีภายใต้แสงวิสิเบิลสำหรับการสลายสีย้อมเอโซแลยาปฏิชีวนะ”
โดย ดร.ธีรเดช เสนาสุ
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : รศ. ดร.สุวัตร นานันท์
(สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช)
- ผลงานเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารอัดเม็ดที่มีองค์ประกอบของกำมะถันระดับสูงต่อการเพิ่มศักยภาพการใช้ประโยชน์หัวมันสำปะหลังสดเพื่อเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง”
(Development of Pellet Product Containing High Level of Sulfur to Increasing Potential use of Fresh Cassava Root as Ruminant Feed)
- ผลงานเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารอัดเม็ดที่มีองค์ประกอบของกำมะถันระดับสูงต่อการเพิ่มศักยภาพการใช้ประโยชน์หัวมันสำปะหลังสดเพื่อเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง”
โดย ดร.ฤทธิเกียรติ ประชุมชัย
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : รศ.ดร.อนุสรณ์ เชิดทอง
(สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา)
- ผลงานเรื่อง “การใช้ประโยชน์เศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมผลิตกรดซิตริกหมักร่วมกับกากตะกอนยีนส์จากกระบวนการผลิตเอทานอลเพื่อเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง”
(Utilization of Citric Acid Waste Fermented with Yeast Cream Obtained from Bioethanol Processing as Tuminants Diet)
- ผลงานเรื่อง “การใช้ประโยชน์เศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมผลิตกรดซิตริกหมักร่วมกับกากตะกอนยีนส์จากกระบวนการผลิตเอทานอลเพื่อเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง”
โดย ดร.ชัยชนะ สุริยะภา
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : รศ.ดร.อนุสรณ์ เชิดทอง
(สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา)
- ผลงานเรื่อง “การเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดสารซีลีเนตโดยใช้วัสดุเหล็กนาโนประจุศูนย์ยึดติดบนซีโอไลต์”
(Enhancement of Selenate Removal Using Zeolite-supported Nanoscale Zero-valent Iron)
- ผลงานเรื่อง “การเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดสารซีลีเนตโดยใช้วัสดุเหล็กนาโนประจุศูนย์ยึดติดบนซีโอไลต์”
โดย ดร.จักรภพ พันธศรี
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : รศ. ดร. วิษณุ แทนบุญช่วย
(สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย)
- ผลงานเรื่อง “ความทันสมัยในตึกแถวย่านถนนหลวง จังหวัดอุบลราชธานี”
(The Modernization of Shophouses on Luang Road Ubonratchathani)
- ผลงานเรื่อง “ความทันสมัยในตึกแถวย่านถนนหลวง จังหวัดอุบลราชธานี”
โดย ดร.กิตติกานต์ พรประทุม
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : ศ.วารุณี หวัง
(สาขาปรัชญา)
- ผลงานเรื่อง “ปฏิบัติการทางสังคมของผู้หญิงที่สามีย้ายถิ่นไปทำงานต่างประเทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือประเทศไทย”
(Practice of Womens Left Behind Among International Migrant in Northeast Region of Thailand)
- ผลงานเรื่อง “ปฏิบัติการทางสังคมของผู้หญิงที่สามีย้ายถิ่นไปทำงานต่างประเทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือประเทศไทย”
โดย ดร.สุวิมล คำน้อย
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก : ศ.ดุษฎี อายุวัฒน์
(สาขาสังคมวิทยา)
โดยทาง สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จะจัดพิธีมอบรางวัลการวิจัยแห่งชาติให้กับนักวิจัยผู้ได้รับรางวัล ในงาน “วันนักประดิษฐ์” ประจำปี 2568 ซึ่งจะมีพิธีพระราชทานเกียรติบัตร จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในวันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ไบเทค บางนา